GMAT Quant sample #15

สิ่งที่ต้องเรียนรู้จากข้อนี้คือ : ถ้าโจทย์ ยากไป ยาวไป ทำไปแล้วจบยาก
เข้าไปแล้วออกลำบาก โจทย์ข้อนั้น ไม่ทำก็ได้นะ เพราะทำแล้วถ้าถูกใน
เวลาที่นานเกินไปก็เสียวินัยและการวางแผน ถ้ายิ่งทำช้าและแถมผิดจะยิ่ง
บานปลายเพราะ เสียหายถึงสองเด้ง ทั้งเสียเวลาและทั้งเสียคะแนน

ดังนั้น ถ้าไม่รู้วิธีที่จะก้าวผ่านข้อที่ต้องใช้เวลานาน หรือ apply
non-math มาใช้ไม่เป็น การหลีกเลี่ยงช่วยลดความเสี่ยงได้ครับ 🙂

สวัสดีครับ น้องๆ โจทย์ประจำสัปดาห์ กลับมาแล้วครับ !!
พอดีพึ่งโหมงานประจำเสร็จไป 1 ยกใหญ่ เลยไม่ค่อยมีเวลา่มา
เขียนโจทย์ที่ตั้งใจไว้ว่าจะเขียนสะสมไปทุกสัปดาห์ เทฟะ

แต่ถ้ามีใครตามรออ่านอยู่ต้องขออภัยนะครับ งานยุ่งจริงจิ๊งงง


โจทย์ประจำวันนี้ที่จะยก ก็คงเป็น PS นะครับ data suff คงจะไม่ยกเพราะ วิธีที่พี่เอ๋ใช้มันจะเป็นวิธีเฉพาะของพี่เอ๋
เขียนอธิบายในนี้ มันจะไม่ตรงกับชาวบ้านเขา ร่ายยาวได้ยาก
ขออุปไว้สอนนักเรียนพี่นะ ไม่ว่ากันนะครับ

แต่ PS สอนตรงกลางเพจนี้ได้
ให้จำไว้ว่า ถ้าอยากทำ GMATทัน การเพิ่ม Speed ใน part PS
ต้องมี non-math TACTIC หรือ มี Math Technique !!!
ทีนี้น้องจะพบว่า
โดยทั่วไป – ตลาดจะสอนวิธีอยู่ประมาณ 1-2 อย่าง หลักๆก็คือ
Picking กับ Plug-in ซึ่งแน่นอนพี่ก็สอนด้วย
**
แต่พี่เอ๋จะมี อีก 3 tactic **
รวมกันเป็น 5 tactic
นั่นคือเพิ่ม Estimation/ Simulation/ Table&Diagram

ตัวอย่างที่แสดงวันนี้เป็นการใช้ Table & Diagram มา apply ทำโจทย์
เพื่อให้ตอบถูกและตอบเร็วโดยไม่ต้องคำณวน สร้างสมการอะไร
หรือปัดเศษตัวเลข แต่อย่างใด

ลองทำก่อนแล้วค่อยดูเฉลยก็ได้นะครับ
ขอให้สนุกกับโจทย์ประจำสัปดาห์ครับ

#GMAT #GMATCOURSE #GMATQUANT

 

———————————–เฉลย———————————

#GMAT #GMATCOURSE #GMATQUANT

Posted in QMAT weekly Question.

ใส่ความเห็น