สิ่งที่ต้องเรียนรู้จากข้อนี้คือ : ถ้าโจทย์ ยากไป ยาวไป ทำไปแล้วจบยาก
เข้าไปแล้วออกลำบาก โจทย์ข้อนั้น ไม่ทำก็ได้นะ เพราะทำแล้วถ้าถูกใน
เวลาที่นานเกินไปก็เสียวินัยและการวางแผน ถ้ายิ่งทำช้าและแถมผิดจะยิ่ง
บานปลายเพราะ เสียหายถึงสองเด้ง ทั้งเสียเวลาและทั้งเสียคะแนน
ดังนั้น ถ้าไม่รู้วิธีที่จะก้าวผ่านข้อที่ต้องใช้เวลานาน หรือ apply
non-math มาใช้ไม่เป็น การหลีกเลี่ยงช่วยลดความเสี่ยงได้ครับ 🙂
สวัสดีครับ น้องๆ โจทย์ประจำสัปดาห์ กลับมาแล้วครับ !!
พอดีพึ่งโหมงานประจำเสร็จไป 1 ยกใหญ่ เลยไม่ค่อยมีเวลา่มา
เขียนโจทย์ที่ตั้งใจไว้ว่าจะเขียนสะสมไปทุกสัปดาห์ เทฟะ
…
แต่ถ้ามีใครตามรออ่านอยู่ต้องขออภัยนะครับ งานยุ่งจริงจิ๊งงง
—
…
โจทย์ประจำวันนี้ที่จะยก ก็คงเป็น PS นะครับ data suff คงจะไม่ยกเพราะ วิธีที่พี่เอ๋ใช้มันจะเป็นวิธีเฉพาะของพี่เอ๋
เขียนอธิบายในนี้ มันจะไม่ตรงกับชาวบ้านเขา ร่ายยาวได้ยาก
ขออุปไว้สอนนักเรียนพี่นะ ไม่ว่ากันนะครับ
—
แต่ PS สอนตรงกลางเพจนี้ได้
ให้จำไว้ว่า ถ้าอยากทำ GMATทัน การเพิ่ม Speed ใน part PS
ต้องมี non-math TACTIC หรือ มี Math Technique !!!
ทีนี้น้องจะพบว่า
โดยทั่วไป – ตลาดจะสอนวิธีอยู่ประมาณ 1-2 อย่าง หลักๆก็คือ
Picking กับ Plug-in ซึ่งแน่นอนพี่ก็สอนด้วย
**
แต่พี่เอ๋จะมี อีก 3 tactic **
รวมกันเป็น 5 tactic
นั่นคือเพิ่ม Estimation/ Simulation/ Table&Diagram
ตัวอย่างที่แสดงวันนี้เป็นการใช้ Table & Diagram มา apply ทำโจทย์
เพื่อให้ตอบถูกและตอบเร็วโดยไม่ต้องคำณวน สร้างสมการอะไร
หรือปัดเศษตัวเลข แต่อย่างใด
ลองทำก่อนแล้วค่อยดูเฉลยก็ได้นะครับ
ขอให้สนุกกับโจทย์ประจำสัปดาห์ครับ
———————————–เฉลย———————————